วันพุธที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2556

วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


สรุปงานวิจัย

ชื่อวิจัย : การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กากมะพร้าว

ผู้วิจัย : วรัญชลี รอตเรือ

ความสำคัญของการวิจัย : เป็นการทำให้ทราบถึงการคิดเชิงเหตุของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมสิลปสร้างสรรค์โดยใช้กากมะพร้าว เพื่อเป็นแนวทางสำหรับครู ผู้บริหาร และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกาาปฐมวัยที่จะนำไปใช้เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการคิดเชิงเหตุผล ตลอดจนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ให้มีความเหมาะสมกับเด็กปฐมวัยมากยิ่งขึ้น

กลุ่มตัวอย่าง : เด็กปฐมวัยชาย-หญิง อายุ 4-5 ปี ที่กำลังสึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนวัดสะแกงาม สำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 36 คน

สรุปผลการวิจัย : เด็กปฐมวัยหลังจากที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กากมะพร้าว มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล คือ การเปลี่ยนแปลงของการคิดเชิงเหตุผลรายด้านของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กากมะพร้าวเพิ่มขึ้น พบว่า เด็กปฐมวัยมีการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล ด้านอนุกรมเพิ่มขึ้นมากเป็นอันดับ 1 รองลงมาคือ ด้านการเปรียบเทียบ ด้านการจัดประะเภท และด้านกานหาส่วนที่หายไป ตามลำดับ





วันเสาร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 16 วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556

วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556

- พูดคุยเรื่องเสื้อสูทร
- พูดคุยตกลงเวลาในการไปศึกษาดูงาน กีฬาสีเอก บายเนียร์ ปัจฉิม และนัดสอบปลายภาย สรุปได้ดังนี้
    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2556 สอบปลายภาย
    วันที่ 2 มีนาคม 2556 กีฬาสีเอก เริ่ม 8.30 หรือ 9 โมง    
    วันที่ 3 มีนาคม 2556 ปัจฉิม    
    เย็นวันที่ 5 มีนาคม 2556 ไปดูงานที่ลาว 
- อาจารย์แจกกระดาษคนละ 1 แผ่น ให้เขียนว่าเมื่อเรียนวิชานี้แล้วได้ความรู้อะไร ได้ทักษะอะไร และวิธีการสอนอะไร




บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 15 วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556

- สอบสอน
หน่วย อวัยวะภายนอก
วันที่ ชนิดของอวัยวะภายนอกร่างกาย
เพลง ตาดูหูฟัง
     เรามีตาไว้ดู          เรามีหูไว้ฟัง
คุณครูท่านสอนท่านสั่ง
เราตั้งใจฟัง               เราตั้งใจดู
- ครูให้เด็กๆบอกว่ารู้จักอวัยวะภายนอกอะไรบ้าง
-  ครู ให้เด็กๆดูบัตรภาพ จากนั้นครูถามว่า “อวัยวะที่เด็กในภาพนี้ มีชื่อเรียกว่าอะไร และเด็กๆมีอวัยวะต่างๆ เหมือนกับเด็กในภาพหรือไม่” 
วันที่ ลักษณะของอวัยวะภายนอกร่างกาย
- บอกคุณครูซิค่ะว่า อวัยวะภายนอกมีอะไรบ้าง เด็กๆลองสังเกตเพื่อนๆซิค่ะ ลองจับดูซิค่ะว่าเป็นอย่างไร สีอะไร 
- สรุปโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม เวลาจะพูดเริ่มจากส่วนที่เกมือนกันก่อน แล้วค่อยๆไล่ไปทีละอย่าง
วันที่ 3 หน้าที่ของอวัยวะภายนอกร่างกาย
- ไหนบอกคุณครูซิค่ะว่า........(ชื่ออวัยวะภายนอก)......ลักษณะอย่างไรบ้าง (ทบทวน)
- ร้องเพลงที่เกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะภายนอก แล้วทบทวนในเพลงว่ามีหน้าที่อะไรบ้าง
- สรุปโดยใช้คำพูดว่า ไหนเด็กๆบอกคุณครูซิค่ะ อวัยวะต่างๆมีหน้าที่อะไรบ้าง 
วันที่ 4 ประโยชน์ของอวัยวะภายนอกร่างกาย
- เนื่องจากประโยชน์เป็นข้อความรู้ ถ้าเรามียืนอ่านให้เด็กฟัง เด็กก็จะจำไม่ได้ แล้วอีกอย่าง จะทำให้เด็กเบื่อการเรียน แต่เราจะนำข้อความรู้นี้ไปใส่ในนิทาน หรือบทบาทสมมติ 

วันที่ 5 วิธีการดูแลรักษาของอวัยวะภายนอกร่างกาย
- mind map การดูแลรักษาอวัยวะภายนอกร่างกาย โดยการพูดคุยกับเด็ก การดูแลรักษานี้ เราจะสอนให้เด็กได้ปฎิบัติจริงก็ได้




 

วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14 วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556

วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556

 

-อาจารย์ถามความคืบหน้าของกิจกรรมงานวันพุธ
-เพื่อนๆสอบสอนเรื่องกระดุม
-การนำเข้าสู่บทเรียน 
-ใช้เพลง 
- นิทาน



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13 วันอังคารที่ 29 มกราคม 2556

วันอังคารที่ 29 มกราคม 2556

 

-อาจารย์พูดเรื่องกีฬาสีเอก
-กิจกรรมการแสดงวันพุธ
-คิดการแสดง
-แบ่งหน้าที่การทำงานของแต่ละคน
-รำ             
-ร้องเพลง
-โฆษณา    
-พิธีกร
-การแสดง   
-ผู้กำกับหน้าหม้า
-อาจารย์ประยุกต์กิจกรรมวันพุธให้เป็นการสอนคณิต



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12 ครั้งที่ 12 วันอังคารที่ 22 มกราคม 25556

ครั้งที่ 12  วันอังคารที่ 22 มกราคม 25556


- เพื่อนๆสอบสอน

- เวลาจะติดตัวเลขกำกับค่าของ ให้ติดที่ตัวสุดท้าย เพราะเด็กจะได้รู้ว่า เมื่อนับมาถึงสุดท้ายแล้ว มันจะมีค่าเท่าไร

- การสอน ถ้าสอนเรื่องลักษณะของสิ่งต่างๆ ให้ส่งให้เด็กดม สัมผัส สังเกต
- การสอน ถ้าเป็นเศษส่วน ให้สอดคล้องตรงที่ แบ่งของ เช่น ให้เด็กชิมเค้ก เป็นต้น
- การสอนเด็กถ้าเป็นเนื้อหาที่เป็นความรู้หรือวิชาการมากๆควรทำให้เป็นนิทาน

 มาตารฐานทางคณิตศาสตร์มี 6 มาตารฐาน



 

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11 วันอังคารที่ 15 มกราคม 2556

วันอังคารที่ 15 มกราคม 2556

 - เพื่อนออกไปสอนได้ 1 กลุ่ม  - อาจารย์แนะนำวิธีการสอนที่สอดคล้องกับคณิตศาสตร์ และการพูดในชั้นเรียนที่จะให้สอดคล้องกับคณิตศาสตร์

 หมายเหตุ * อาจารย์ขอออกก่อนเวลา เนื่องจากติดประชุมด่วน

 



คบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10 วันอังารที่ 8 มกราคม 2556

วันอังคารที่ 8 มกราคม 2556

- ส่งดอกไม้ 3 ดอก ที่สั่งเมื่อคาบที่ผ่านมา - พูดคุยเกี่ยวกับเรื่อง มาตรฐานคณิตศาสตร์ของสสวท.



                                                            ผลงาน

-อาจารย์ถามนักศึกษาว่าดอกไม้ที่ทำมาสามารถนำมาทำเป็นอะไรได้บ้าง
1.สื่การสอน
2.สื่อที่เด็กเล่นเอง
-นึกถึงอะไรทางคณิตศาสตร์
1.การนับ
2.จำนวน
3.เศษส่วน
4.จัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ
7.เรียงลำดับ
8.เซต
9.ทำตามแบบ
10.การอนุรักษ์
-สื่อ
>การร้อย-จำนวน ขนาด เรียงลำดับ ตามรูปแบบ เซต
>เรียงเป็นภาพต่อกัน



***การบ้าน***
สอนตามแผนของแต่ละกลุ่มเดียว

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9 วันอังคารที่ 1 มกราคม 2556

ครั้งที่ 9 วันอังคารที่ 1 มกราคม 2556

หมายเหตุ : ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันหยุดปีใหม่




บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 8 วันอังคารที่ 25 ธันวาคม 2555

วันอังคารที่ 25 ธันวาคม 2555

หมายเหตุ : ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากเป็นวันสอบกลางภาค

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7 วันอังคารที่ 18 ธันวาคม 2555

วันอังคารที่ 18 ธันวาคม 2555


หมายเหตุ: ไม่มีการเรียนการสอน 

เนื่องจากอาจารย์ติดธุระและอาจารย์ได้ให้ทำงานที่มอบหมายไว้ให้




บันทึกการเรียนครั้งที่ 6 วันอังคารที่ 11 ธันวาคม 2555

วันอังคารที่ 11 ธันวาคม 2555

- ส่งแผนการจัดประสบการณ์หน่วยของตนเอง

 แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยบ้าน - เอากล่องที่สั่งให้เอามา แล้วอ.ถามว่า
       เห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร?
       อยากให้กล่องนี้เป็นอะไร? 
       ใช้ทำอะไร?
    การที่จะถามเด็กนั้น เราควรใช้คำถามที่เด็กรู้สึกไม่กดกัน ไม่กลัวผิด ใช้คำถามที่เด็กได้คิด ได้ตอบตามจินตนาการของ แล้วเด็กก็จะมีความสุขในการตอบ ไม่รู้สึกกลัวว่าจะตอบผิด เด็กจะเชื่อมโยงกับสิ่งที่เคยรู้มา เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้คิด 
- การสอนคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัยนั้น ต้องสอนให้ถูกวิธีการเรียนรู้ ตามธรรมชาติของเด็ก ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5

 การต่อกล่อง 

 ครั้งที่ 1 - ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มกัน แล้วนำกล่องมาต่อ โดยไม่ปรึกษากัน  ให้ต่อตามจินตนาการของตนเอง แล้วจะได้ผลงานมา 1 ชิ้น หลังจากนั้นก็ถามที่ละคน ว่าตอนที่กำลังจะต่อกล่อง อยากให้เป็นอะไร ซึ่งคำตอบของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับจินตนาการของคนต่อ 

ครั้งที่ 2 - ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม ต่อกล่องโดยปรึกษากัน ว่าจะต่อเป็นรูปอะไร การต่อกล่องแบบนี้ จะทำให้เด็กเกิดการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักการรอคอย และการต่อกล่องนี้ ยังช่วยเสริมประสบการณ์ทางด้านคณิตศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นการแยกประเภทของรูปทรงของกล่อง กานับกล่อง การวัด การจับคู่ เป็นต้น  

ครั้งที่ 3 - ให้นักศึกษาทั้งห้อง เอาผลงานของแต่ละกลุ่มมารวมกันเป็นงานชิ้นเดียว และให้นำกล่องหรืออุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่มาประกอบการสร้างชิ้นงาน การต่อกล่องแบบนี้ เป็นการเสริททักษะทางคณิตศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นการจัดประเภทของกล่อง การจับคู๋ การวัด รูปทรงและเนื้อที่ เป็นต้น

 -อาจารย์ให้จับกลุ่มละ 10 คน และให้นำกล่องของตนเองมาต่อกับเพื่อนทีละคนโดยไม่ให้ปรึกษากัน
เพื่อจะให้รู้จักการแก้ปัญหา การคิด และการเชื่อมโยง
-อาจารย์ถามนักศึกษาทีละคนว่าสิ่งที่นักศึกษากำลังจะต่อคืออะไรซึ่งแต่ละคนตอบไม่เหมือนกันเพราะไม่ได้มีการวางแผนเตรียมกันมาก่อน

 -เมื่อต่อเสร็จแล้วก็นำของแต่ละกลุ่มมาจัดรวม กันและส่งตัวแทนออกมาเพื่อช่วยกันคิดว่าจะจัดเป็นอะไรได้บ้างเมื่อได้ความ คิดแล้วก็ช่วยกันจัด

 -อาจารย์บอกว่าเมื่อเวลานำกล่องมาใช้ควรเก็บไว้ใช้ทำสื่อต่างๆ หรือจัดประสบการณ์ต่างๆได้ **การบ้าน**
-ทำดอกไม้จากแกนทิชชู คนละ 3 ดอก จาก 1แกน

 

วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5 วันอังคารที่ 4 ธันวาคม 2555

วันอังคารที่ 4 ธันวาคม 2555

-อาจารย์ให้ออกไปนำนำเสนองานที่สั่งในสัปดาห์ที่แล้ว (ความเรียง)

หน่วยบ้าน

        วันนี้คุณครูจะมาสอนเด็กๆเรื่องบ้าน คุณครูจะนำภาพบ้านหลังใหญ่มา 1 หลัง ให้เด็กๆช่วยกันนับหน้าต่างของบ้านหลังนี้ว่ามีหน้าต่างทั้งหมดกี่บาน และเด็กๆเห็นบ้านเลขที่หลังนี้ไหมค่ะว่ามีตัวเลขอะไรบ้าง นอกจากตัวเลขแล้วเด็กๆ คิดว่าส่วนประกอบของบ้านมีรูปทรงอะไรบ้าง เมื่อคุณครูและเด็กร่วมกันพูดคุยเรื่องบ้านแล้ว คุณครูแบ่งเด็กเป็นกลุ่มละเท่าๆกัน โดยนำบัตรภาพรูปบ้านชนิดต่างๆมาให้เด็กแต่ละกลุ่ม คุณครูมีภาพบ้านอยู่ในตะกร้าและให้เด็กๆช่วยกันนำภาพตึกแถวออกมาวางบนโต๊ะ และให้เด็กๆจับคู่ภาพตึกแถวที่มีสีเหมือนกัน จากนั้นคุณครูหยิบภาพบ้านที่อยู่ในตะกร้ามา 2 ภาพ ซึ่งมีขนาดแตกต่างกันให้เด็กๆสังเกตว่าภาพบ้านหลังไหนมีขนาดเล็กกว่ากัน ต่อจากนั้นครูนำภาพบ้าน 2 หลังมาติดบนกระดานให้มีระยะห่างกันโดยให้เด็กวัดความยาวจากการใช้นิ้วมือว่า มีความยาวเท่าไร คุณครูมีกิจกรรมให้เด็กๆวาดภาพต่อเติมภาพบ้านที่หายไปตามจิตนาการของเด็กๆ และระบายสีให้สวยงาม

 


บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4 วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน 2555

วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน 2555

- อาจารย์แจกกระดาษ A4 คนละแผ่นและให้นักศึกษาเขียน Mind Map ในหน่วยของตนเอง




 -อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอในหน่วยที่ตนเองได้รับมอบหมายและอาจารย์ก็ให้ข้อเสนอแนะในแต่ละกลุ่ม
หน่วยบ้าน
- การนับ => บ้านหลังนี้มีหน้าต่างกี่บาน
- ตัวเลข => บ้านหลังนี้มีบ้านเลขที่ 417
- การจับคู่ => เด็กๆจับคู่บ้านตึกแถวที่มีสีเดียวกัน
- การจัดประเภท => คุณครูมีภาพบ้านอยู่ในตะกร้า ให้เด็กๆนำภาพที่เป็นตึกแถวมาวางบนโต๊ะ
- การเปรียบเทียบ => คุณครูมีภาพ 2 ภาพ ให้เด็กๆเปรียบเทียบระหว่างกับภาพที่ 1 กับภาพที่ 2 ภาพไหนเล็กกว่ากัน
- การจัดลำดับ => ตอนเช้าฉันทำความสะอาดห้องน้ำ หลังจากนั้นตอนบ่ายฉันไปล้างจานในครัว
- รูปทรงและเนื้อที่ => เด็กๆคิดว่าส่วนประกอบของบ้ายมีอะไรบ้าง
- การวัด => คุณครูมีภาพบ้าน 2 ภาพ วางห่างกัน ให้เด็กๆวัดระยะห่างของบ้านทั้ง 2 หลังโดยใช้นิ้ว
- เซต => วันนี้จะมีแขกมาเยี่ยมห้องของเราคุณครูจะให้เด็กๆช่วยกันจัดชุดกาแฟ 2 ชุด
- เศษส่วน => ฉันปลูกบ้านตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยแบ่งพื้นที่เป็น 4 ส่วนเท่าๆกัน คือ
ส่วนที่ 1 ปลูกผัก ส่วนที่ 2 เลี้ยงปลา ส่วนที่ 3 เลี้ยงวัว และส่วนที่ 4 ปลูกบ้าน- การทำตามแบบหรือลวดลาย => ให้เด็กๆวาดภาพต่อเติมบ้านที่หายไปให้สมบูรณ์
- การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ => คุณครูแบ่งดินน้ำมันให้คนละก้อนเท่าๆกันโดยให้เด็กๆปั้นรูปบ้านตามจิตนาการของตนเอง


 หน่วยนาฬิกา - การนับ => มีนาฬิกาอยู่ในบ้านกี่เรือน - ตัวเลข => เลข 9 อยู่ใกล้เลขอะไรในนาฬิกา - การจับคู่ => นาฬิกาดิจิตอลไปใส่ในกล่องรูปดาว - เชต => นาฬิกาแขวนผนังและนาฬิกาข้อมือส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่ทำมาจากไม้ - เศษส่วน => มีนาฬิกา 10 เรือนแบ่งเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน - การทำตามแบบหรืลวดลาย => ให้เด็กวาดรูปนาฬิกาในกรอบสี่เหลี่ยม - การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้าปริมาณ => เมื่อเวลาผ่านไปทรายในนาฬิกายังเท่าเดิม หน่วยแมลง
- การเปรียบเทียบ => แมลงเต่าทองกับแมลงปอแมลงชนิดไหนมีขนาดเล็กกว่ากัน
- การจัดลำดับ => การจัดแมลงที่มีขนาดเล็กไปถึงขนาดใหญ่
- รูปทรงและเนื้อที่ => แมลงแต่ละชนิดมีรูปทรงอะไรบ้าง
- การวัด => ให้เด็กวัดความยาวลำตัวของแมลงโดยใช้นิ้ว
- เซต => ให้เด็กๆเตรียมอุปกรณ์ในการจับแมลง
- เศษส่วน => มีแมลง 10 ตัวแบ่งออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน
- กาารทำตามแบบหรือลวดลาย => ให้เด็กสังเกตต่อภาพจิ๊กซอตามตัวอย่าง
หน่วยกุหลาบ
- การนับ => ให้เด็กๆช่วยกันนับว่าในช่อกุหลาบมีกุหลาบกี่ดอก - ตัวเลข => ให้เด็กๆนำตัวเลขฮินดูอารบิกมาติดแทนค่าจำนวนดอกกุหลาบ
- การจับคู่ => ให้เด็กจับคู่ภาพดอกกุหลาบที่มีจำนวนเท่ากัน
- การเรียงลำดับ => ให้เด็กๆเรียงลำดับจากเล็กไปหาใหญ่
- รูปทรง => ส่วนประกอบของดอกกุหลาบมีรูปร่างอย่างไร
- การวัด => ให้เด็กๆวัดความยาวของกุหลาบโดยการใช้ไม้บรรทัด
- การจัดประเภท => ให้เด็กจัดกลุ่มดอกที่มีสีแดง
- เศษส่วน => มีดอกกุหลาบทั้งหมด 10 ดอก และให้เด็กๆแบ่งเป็น 2 กองเทาาๆกัน
- กาารทำตามแบบและลวดลาย => นำวัสดุที่เป็นดอกกุหลาบมาประกอบให้เป็นดอกกุหลาบ
- การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ => นำดอกกุหลาบมาใส่แจกันที่มีความแตกต่างกัน
- เซต => เครื่องมือในการปลูกดอกกุหลาบ
- การเปรียบเทียบ => ดอกกุหลาบดอกไหนใหญ่กว่ากัน
- เนื้อที่ => แปลงดอกกุหลาบ 1 แปลงปลูกกุหลาบได้กี่ต้น
หน่วยยานพาหนะ
- การนับ => เด็กๆช่วยกันนับล้อรถว่ามีกี่ล้อ
- ตัวเลข => ฉันขึ้นรถเมล์สาย 206 - จับคู่ => ให้เด็กๆจับภาพจำนวนหมวกกันน็อคกับตัวเลขฮินดูอารบิก - การจัดประเภท => ให้เด็กๆหยิบภาพรถที่มีล้อ 2 ล้อมาติดที่ครูกำหนด
- การเปรียบเทียบ => เด็กๆคิดว่ารถไฟกับรถเมล์รถชนิดใดมีล้อมากกว่ากัน
- การเรียงลำดับ => ในช่วงเช้าฉันทำความสะอาดรถในช่วงบ่ายไปตรวจสภาพรถ
- รูปทรง => รถไฟมีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า
- เซต => การทำความสะอาดมีอุปกรณ์อะไรบ้าง - การเปรียบเทียบ => รถมอเตอร์ไซค์วิ่งเร็วกว่าจักยานแต่มีล้อ 2 ล้อเหมือนกัน
หน่วยขนมไทย
- การนับ => การนับจำนวนชนิดของขนม
- จำนวน => ให้เด็กนำตัวเลขฮินดูอารบิกมาติดตามจำนวนขนมที่อยู่ในถาด
- จับคู่ => เด็กๆจับคู่ขนมที่เหมือนกัน
- การจัดประเภท => ให้เด็กๆแยกขนมที่นิ่มออกมาใส่จาน
- การเปรียบเทียบ => ให้เด็กๆเปรียบเทียบขนาดของขนมเล็กใหญ่และนำมาเปรียบเทียบชิ้นไหนใหญ่กว่ากัน
- การจัดลำดับ => ให้เด็กๆเรียงชิ้นขนม จากเล็ก-ใหญ่
- รูปทรง => ให้เด็กๆหยิบขนมที่มีรูปทรงสี่เหลี่ยม
- เนื้อที่ => เด็กๆคิดว่าถาด 1 และถาด 2 ถาดไหนใส่ขนมมากกว่ากัน
- เซต => เด็กๆคิดว่าอุปกรณ์ในการทำขนมมีอะไรบ้าง
- การทำตามแบบและลวดลาย => ให้เด็กๆแต่่งลวดลายตามอิสระ
- เศษส่วน => ถ้าเด็กๆมีขนม 4 ชิ้นจะแบ่งขนมให้เท่าๆกันอย่างไร
- การอนุรักษ์และการคงที่ด้านปริมาณ => การทำวุ่นใส่แม่พิมพ์คนละรูปแต่ตัวเนื้อวุ้นมีขนาดเท่ากัน
หน่วยกล้วย
- การนับ => กล้วยในตะกร้ามีกี่ลูก
- ตัวเลข => เด็กๆหยิบเลขฮินดูอารบิกมาติดที่หวีของกล้วย - จับคู่ => ให้เด็กๆจับคู่กล้วยหอมเล็กกับเล็ก ใหญ่กับใหญ่
- การจัดลำดับ => เรียงกล้วยที่มีขนาดเล็กไปหาใหญ่
- รูปทรง => ตัดต้นกล้วยที่มีรูปทรงกลมมาทำกระทง
- การวัด => ให้เด็กๆวัดผลกล้วยโดยการใช้ไม้บรรทัด
- เซต => การจัดเซตอุปกรณ์ในการทำกล้วยบวชชี
- เศษส่วน => กล้วย 1 หวี แบ่งครึ่งให้เท่าๆกันและแบ่งให้เด็ก 2 คน
- การทำตามแบบและลวดลาย => วาดภาพต่อเติมต้นกล้วยตามที่ครูกำหนด
- การอนุรักษ์และการคงที่ด้านปริมาณ => กล้วยฉาบแบ่งใส่ขวดโหล กล้วยกวนแบ่งใส่กล่อง


อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกไปนำเสนองาน พร้อมทั้งชี้แนะแนวทาง